NWLSC
เสือติดปีก นครหนานหนิงปั้นฟังก์ชัน “ฐานแปรรูปข้าวขัดขาว” ในท่ารถไฟระหว่างประเทศหนานหนิง
ปัจจุบัน ภาครัฐกำลังเร่งส่งเสริมการขนส่งด้วย “ระบบราง” และมีการพัฒนาโมเดลการขนส่งเพื่อเชื่อมกับการขนส่งรูปแบบอื่นอย่าง “เรือ+ราง” ที่ถือว่าเป็นทางเลือกใหม่สำหรับผู้ประกอบการไทยที่ต้องการขนส่งสินค้าไทยไปเจาะตลาดจีน หรือใช้ช่องทางดังกล่าวขนส่งสินค้าไปยังเอเชียกลางและยุโรป โดยมี “ท่ารถไฟหนานหนิง” เป็น…
ค้นหาคำตอบว่า…อะไรทำให้ ‘กว่างซี’ เนื้อหอม ดึงดูดนักลงทุน พร้อมก้าวสู่ฐานธุรกิจแห่งใหม่ของจีน
ในช่วง 2-3 ปีมานี้ กว่างซีได้รับนโยบายหลายอย่างจากรัฐบาลกลางที่เอื้อต่อการพัฒนา เสริมสร้างและขยายความร่วมมือกับอาเซียน ภายใต้ยุทธศาสตร์การเป็น Gateway to ASEAN ของจีน…
ส่องแผนพัฒนางานขนส่งและโลจิสติกส์ เชื่อมจีนตะวันตกกับอาเซียน มุ่งพลิกโฉมกว่างซีให้เป็น Gateway การค้าการลงทุนกับต่างประเทศภายใน 3 ปี
. การพัฒนาระเบียง NWLSC ในกว่างซีมีนัยสำคัญยิ่งต่อความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ การค้าและการลงทุนระหว่างไทย-จีน กล่าวได้ว่า กว่างซีเป็นพื้นที่แห่งโอกาสที่ภาคธุรกิจไทยจะสามารถ “เชื่อมต่อ” เศรษฐกิจภายในประเทศของไทยให้เข้ากับเศรษฐกิจของจีนตะวันตกผ่านระเบียง NWLSC…
กว่างซีดัมป์ต้นทุน “เรือ+ราง” ติดปีกธุรกิจนำเข้า-ส่งออก
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้พัฒนาสภาพแวดล้อมทางธุรกิจและงานบริการอย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านพิธีการศุลกากร การส่งเสริมขีดความสามารถทางการแข่งขันให้กับภาคธุรกิจ และการลดอุปสรรคเรื่องการขนส่งและโลจิสติกส์เฉพาะกรณี (case by case) โดยเฉพาะผู้ให้บริการรถไฟลำเลียงสินค้าที่ท่าเรือชินโจว บริษัท Guangxi…
ประเดิมสวย โมเดลขนส่งตู้สินค้า “เรือ+ราง” ที่กว่างซี ทางเลือก(ไม่)ใหม่สำหรับผู้ส่งออกไทย
ปัจจุบัน มีบริการเที่ยวเรือขนส่งสินค้าระหว่างท่าเรือชินโจวกับท่าเรือแหลมฉบังและท่าเรือกรุงเทพของไทยจำนวนหลายเที่ยวต่อสัปดาห์ เป็นอีกทางเลือกสำหรับผู้ส่งออกไทย โดยเฉพาะช่วงฤดูกาลผลไม้ของไทย (ระหว่างเดือนเมษายน-มิถุนายนของทุกปี) ที่มีปริมาณการขนส่งพุ่งสูงขึ้น ส่งผลให้การขนส่งผ่านเส้นทาง R9 และ R12…
“เขตทดลองการค้าเสรีจีน(กว่างซี)” ติดลมบน นักลงทุนจีนและต่างประเทศแห่ตั้งกิจการ
ช่วง 2-3 ปีมานี้ กว่างซีได้รับนโยบายหลายอย่างจากรัฐบาลกลางที่เอื้อต่อการพัฒนา เสริมสร้างและขยายความร่วมมือกับอาเซียน ภายใต้ยุทธศาสตร์การเป็น Gateway to ASEAN ของจีน…
ธุรกิจไทยอย่ารอช้า ยักษ์ใหญ่ในวงการโลจิสติกส์โลกเข้า “ชิงเค้ก” ในกว่างซีแล้ว
ธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยขับเคลื่อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจระหว่างสองฝ่าย ความใกล้ชิดด้านทำเลที่ตั้งจึงเป็นโอกาสที่ภาคธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ไทยไม่ควรพลาดในการเข้ามาขยายธุรกิจแบบครบวงจรในกว่างซี ซึ่งสามารถตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การเป็น Hub การขนส่งและโลจิสติกส์ในภูมิภาคของทั้งกว่างซี (Hub จีนกับอาเซียน) และประเทศไทย (Hub อาเซียน)…
พลิกโฉมงานขนส่งกับจีน : “เรือ+รถไฟ” ที่กว่างซี คำตอบใหม่ของผู้ค้าไทยกับจีน
โมเดล “เรือ+ราง” ที่ท่าเรือชินโจว เป็นทางเลือกใหม่สำหรับผู้ประกอบการไทยที่ต้องการขนส่งสินค้าไทยไปเจาะตลาดจีน หรือใช้ช่องทางดังกล่าวขนส่งสินค้าไปยังเอเชียกลางและยุโรป ในทางกลับกัน สินค้าจีนก็สามารถใช้รถไฟขนส่งตู้สินค้ามาที่ท่าเรือชินโจวเพื่อขึ้นเรือไปต่างประเทศได้แบบไร้รอยต่อ ปัจจุบัน มีบริการเที่ยวเรือขนส่งสินค้าระหว่างท่าเรือชินโจวกับท่าเรือแหลมฉบังและท่าเรือกรุงเทพของไทยด้วยแล้ว
“อาเซียน” ยืนหนึ่งในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 14 ของกว่างซี
การเปิดกว้างสู่ภายนอกกับอาเซียนของกว่างซี ได้รับการกล่าวถึงในมิติเศรษฐกิจ การค้า การลงทุน และการขนส่งและโลจิสติกส์ โดยเน้นการพัฒนาความเชื่อมโยงด้านระบบโครงสร้างพื้นฐานและกระชับความร่วมมือด้านศุลกากรกับอาเซียน และพัฒนาโมเดลการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ (Multi-modal transportation) หากพิจารณาในแง่ของโอกาส…
แรงไม่หยุด ฉุดไม่อยู่… ขนส่ง “เรือ+รถไฟ” ทางเลือกใหม่ของผู้ส่งออกไทยไปตลาดจีน
โมเดล “เรือ+ราง” ที่ท่าเรือชินโจว เป็นทางเลือกใหม่สำหรับผู้ประกอบการไทยในการขนส่งสินค้าไทยไปเจาะตลาดจีน หรือใช้ช่องทางดังกล่าวเพื่อขนส่งสินค้าไปยังเอเชียกลางและยุโรป ซึ่งปัจจุบันมีเที่ยวเรือวิ่งให้บริการระหว่างท่าเรือชินโจวกับท่าเรือแหลมฉบังและท่าเรือกรุงเทพ โดยระบบงานขนส่งดังกล่าวสามารถรองรับตู้คอนเทนเนอร์ได้อีกหลายประเภท ทั้งตู้ธรรมดา ตู้ทำความเย็น และตู้เปิดฝาบน
ท่าเรือฝางเฉิงก่างสร้างท่าเรือสินค้าโภคภัณฑ์ (Bulk) ขนาดใหญ่ที่สุดในภาคจีนตะวันตก
ท่าเรือฝางเฉิงก่าง (Fangchenggang Port) ได้เริ่มก่อสร้างท่าเทียบเรือขนสินแร่และสินค้าโภคภัณฑ์ (Bulk) ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในภาคตะวันตกของประเทศจีน สามารถรองรับเรือขนาด 2 แสนตัน มีมูลค่าการลงทุน…
กว่างซีดันยุทธศาตร์ระเบียงขนส่งทางบกกับทางทะเล เชื่อมไทยใกล้จีน
เขตฯ กว่างซีจ้วง เป็นช่องทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการไทยที่ต้องการขนส่งสินค้าไทยไปเจาะตลาดจีน หรือใช้ช่องทางดังกล่าวเพื่อขนส่งสินค้าไปยังเอเชียกลางและยุโรป ซึ่งปัจจุบันมีบริการเที่ยวเรือขนส่งสินค้าระหว่างท่าเรือชินโจวกับ ท่าเรือแหลมฉบังและท่าเรือกรุงเทพของไทย และการขนส่งทางบกจากภาคอีสานไทย ผ่าน สปป.ลาว เวียดนาม…