ILSTC
ท่าเรือ ๕๔๘ แห่ง และขบวนรถไฟกว่า ๓๖,๐๐๐ ขบวน: ข้อมูลสองจุดแสดงให้เห็นว่ามณฑลเสฉวนและนครฉงชิ่งทำงานร่วมกันเพื่อ “ก้าวสู่ระดับโลก”
ณ ระเบียงการค้าระหว่างประเทศเชื่อมทางบกและทางทะเลสายใหม่ New International Land-Sea Trade Corridor (ILSTC) ในนครฉงชิ่ง เขตซ่าผิงป้า…
ท่าเรือชินโจวเสริมบทบาท “สะพานการค้า” เชื่อมตะวันตกจีนกับชาติอาเซียน
“ท่าเรือชินโจว” เป็นทางเลือกใหม่ของภาคธุรกิจไทยในการทำการค้า โดยเฉพาะกับมณฑลที่อยู่ในภาคตะวันตกและภาคกลางของจีนด้วยความพร้อมด้านระบบโครงสร้างพื้นฐาน ระบบงานขนส่งโลจิสติกส์ ตลอดจนนโยบายพิเศษเพื่อส่งเสริมดึงดูดการลงทุนในบริเวณท่าเรือชินโจว ทำให้พื้นที่บริเวณท่าเรือชินโจวเป็นเป้าหมายการลงทุนที่มีศักยภาพ เหมาะกับภาคการผลิตที่กำลังวางแผนที่จะเริ่มต้นธุรกิจการผลิตและการแปรรูปสินค้าเพื่อเจาะตลาดภายในประเทศจีน หรือแปรรูปเพื่อการส่งออกไปยังประเทศที่สามผ่านเครือข่ายการขนส่งของระเบียงการค้า ILSTC ในทุกมิติ…
ฉุดไม่อยู่ ขนส่ง “เรือ+ราง” ที่กว่างซี โต 56.5% ในไตรมาสแรก ปี 2565
ระบบงานขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ “เรือ+ราง” ที่ท่าเรือรอบอ่าวเป่ยปู้กว่างซี (คนไทยรู้จักชื่อ อ่าวตังเกี๋ย) เป็นทางเลือกที่ผู้ค้าให้ความสนใจ และมีแนวโน้มเติบโตขึ้นอย่างก้าวกระโดด เนื่องจากมีข้อได้เปรียบ ทั้งในด้านประสิทธิภาพงานขนส่ง ความสะดวกรวดเร็วที่ได้รับจากการใช้บริการ…
กว่างซีจีบชาติสมาชิก RCEP เข้าลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย
นักลงทุน(ไทย)สามารถศึกษาความเป็นไปได้และแสวงหาโอกาสในการเข้าไปมีส่วนร่วมกับห่วงโซ่อุตสาหกรรมเกิดใหม่ของกว่างซี ซึ่งรัฐบาลกว่างซีพร้อมให้การส่งเสริมการลงทุน ทั้งในแง่นโยบาย สิทธิประโยชน์ทางการลงทุน เงินทุน เทคโนโลยี และทรัพยากรบุคคล หรืออาจใช้วิธีการจับคู่ธุรกิจในลักษณะแบ่งงานตามความถนัด เพื่อเร่งพัฒนาศักยภาพและเสริมขีดความสามารถทางการแข่งขันของอุตสาหกรรมของสองฝ่ายให้ก้าวหน้าไปพร้อมกัน ซึ่งช่วยให้เกิดการประหยัดต่อขนาด…
“ท่าเรือรอบอ่าวเป่ยปู้” ช่องทางนำเข้า-ส่งออกสินค้าที่ผู้ประกอบการไทยไม่ควรมองข้าม
กลุ่มท่าเรืออ่าวเป่ยปู้กว่างซี หรือที่คนไทยรู้จักในชื่อ “อ่าวตังเกี๋ย” กำลังทวีบทบาททางสำคัญในภูมิภาคจีนตะวันตก จากความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ในการเป็น “ทางออกสู่ทะเล” ที่สะดวกและรวดเร็วเพียงแห่งเดียวในภูมิภาคตะวันตก และเป็นข้อต่อหลักในยุทธศาสตร์ “ระเบียงการค้าระหว่างประเทศเชื่อมทางบกกับทางทะเลสายใหม่” (ILSTC)
จีนเร่งพัฒนาโมเดลขนส่ง “รถไฟเข้าท่าเรือ”
ปัจจุบัน ประเทศจีนให้ความสำคัญกับการพัฒนาระบบงานขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ (Multimodal transportation) โดยเฉพาะการขนส่งในรูปแบบ “รถไฟ+ท่าเรือ” โดยเมื่อไม่นานมานี้ รัฐบาลกลางเพิ่งประกาศข้อคิดเห็นว่าด้วยการเร่งผลักดันการก่อสร้างเส้นทางรถไฟที่ใช้งานเฉพาะทางเพื่อการขนส่งสินค้า
เขย่าเก้าอี้แชมป์ส่งออกทุเรียนไทย มาเลย์ส่ง Musang King ล็อตแรกเข้าจีนแล้ว
ช่วงปลายเดือนสิงหาคม 2562 ที่ผ่านมา มาเลเซียได้ส่งออกทุเรียนพันธุ์ Musang King ทั้งลูกล็อตแรกโดยใช้เส้นทางการค้าระหว่างประเทศเชื่อมทางบกกับทางทะเลสายใหม่ (ILSTC) เข้าสู่ประเทศจีนที่ด่านท่าเรือเมืองชินโจวเป็นที่เรียบร้อยแล้ว โดยจะขนส่งทุเรียนล็อตนี้ต่อเพื่อไปจำหน่ายที่นครฉงชิ่ง
รัฐบาลกลางยก “ท่าเรือรอบอ่าวเป่ยปู้” เป็นดาวรุ่งดวงใหม่สำหรับการค้าต่างประเทศ
รัฐบาลกลางได้กำหนดให้ “ท่าเรืออ่าวเป่ยปู้” ของเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง เป็นผู้เล่นสำคัญในแผนแม่บท “เส้นทางการค้าระหว่างประเทศเชื่อมทางบกกับทางทะเลสายใหม่แห่งภาคตะวันตก” (New International Land-Sea Trade Corridor-…
ตลาดเจียงหนานกวางตุ้งรุกตั้ง “ตลาดสินค้าเกษตร(ผลไม้)” ที่เมืองผิงเสียงของกว่างซี (Video)
ผิงเสียงผุดโปรเจกต์ยักษ์ “ศูนย์ซื้อขายสินค้าเกษตรอัจฉริยะผิงเสียง-เจียงหนาน(อาเซียน)” (凭祥·江楠(东盟)农产品智慧交易中心) พลิกโฉมตลาดค้าส่งสินค้าเกษตรแบบดั้งเดิม พร้อมตั้งเป้าหมายเป็นศูนย์นำเข้า-ส่งออกและกระจายสินค้าเกษตรที่ใหญ่ที่สุดในจีน โดยศูนย์แห่งนี้จะรองรับการค้าทั้งแบบออนไลน์และออฟไลน์
ส่านซี ตบเท้าเข้าร่วมพันธมิตร New International Land-Sea Trade Corridor- ILSTC
ยกระดับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์ สานต่อเป้าหมายศูนย์กลางการขนส่งและกระจายสินค้าที่สำคัญของจีน
ขนสินค้า “ขึ้นรถไฟ-ลงเรือ” แบบไร้รอยต่อที่ท่าเรือชินโจวของกว่างซี
สถานีรถไฟท่าเรือชินโจวตะวันออกเป็นกลไกสำคัญที่ช่วยให้การขนส่งสินค้าเพื่อการนำเข้า-ส่งออกที่ท่าเรือชินโจวระหว่าง “เรือกับรถไฟ” เป็นการขนส่งแบบไร้รอยต่อ นั่นหมายความว่า สามารถขนย้ายตู้สินค้าจากเรือขึ้นรถไฟเพื่อส่งไปยังพื้นที่ตอนในของจีน พร้อมขนย้ายตู้สินค้าจากพื้นที่ตอนในของจีนจากทางรถไฟเพื่อขึ้นเรือที่ท่าเรือชินโจวได้โดยตรง
กว่างซีชูบท “Hub” โลจิสติกส์ภาคตะวันตกเต็มรูปแบบ
เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงเป็นข้อต่อสำคัญของกรอบยุทธศาสตร์ข้อริเริ่มหนึ่งแถบ หนึ่งเส้นทาง (Belt and Road Initiative – BRI) และเป็นศูนย์กลางระบบโลจิสติกส์เชื่อม “เรือ+รถไฟ”…