ท่าเรือชินโจว
“ท่าเรือชินโจว” ปรับนโยบาย “สินค้าทัณฑ์บน” เอื้อการค้ามากขึ้น ประโยชน์ที่ไทยไม่ควรมองข้าม
“แนวปฏิบัติในการควบคุมตรวจสอบสินค้าในเขตสินค้าทัณฑ์บนตามสถานะสินค้า” ในเขตสินค้าทัณฑ์บนชินโจว เป็นประโยชน์ต่อผู้ประกอบการไทยในด้านการทำการค้ากับคู่ค้าฝ่ายจีนผ่านท่าเรือชินโจว ซึ่งมีทำเลที่ตั้งใกล้กับประเทศไทย และมีเส้นทางเดินเรือกับท่าเรือกรุงเทพและท่าเรือแหลมฉบังอยู่แล้วซึ่งจะช่วยให้สินค้าไทยสามารถกระจายไปยังตลาดจีนอย่างรวดเร็วและคล่องตัวอย่างมาก
ท่าเรือชินโจวกว่างซี เพิ่มเที่ยวเรือรับฤดูผลไม้เป็น 5 เที่ยวต่อสัปดาห์
“ท่าเรือชินโจว” เป็นอีกหนึ่งทางเลือกใหม่ที่น่าสนใจสำหรับผู้ประกอบการไทย เพราะนอกจากจะอยู่ใกล้ไทยมากที่สุดแล้ว ยังมีฟังก์ชั่นรองรับการขนส่งโมเดล “เรือ+ราง” สะดวกต่อการกระจายสินค้าต่อไปยังตลาดทั่วประเทศจีนได้ โดยเฉพาะช่วยกระจายความเสี่ยงด้านการขนส่งผ่าน “ด่านสากลทางบกโหย่วอี้กวาน” ในฤดูผลไม้ที่กำลังถึง
ท่าเรือชินโจวโชว์ศักยภาพในการขนส่งรถยนต์ EV ประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย
ภายใต้กระแสรถ EV ที่กำลังมาแรง ผู้ผลิตรถ EV ในนครฉงชิ่งได้เริ่มหันมาใช้ “ท่าเรือชินโจว” เป็น ‘ช่องทาง’ ในการส่งออก…
ท่าเรือชินโจวเสริมบทบาท “สะพานการค้า” เชื่อมตะวันตกจีนกับชาติอาเซียน
“ท่าเรือชินโจว” เป็นทางเลือกใหม่ของภาคธุรกิจไทยในการทำการค้า โดยเฉพาะกับมณฑลที่อยู่ในภาคตะวันตกและภาคกลางของจีนด้วยความพร้อมด้านระบบโครงสร้างพื้นฐาน ระบบงานขนส่งโลจิสติกส์ ตลอดจนนโยบายพิเศษเพื่อส่งเสริมดึงดูดการลงทุนในบริเวณท่าเรือชินโจว ทำให้พื้นที่บริเวณท่าเรือชินโจวเป็นเป้าหมายการลงทุนที่มีศักยภาพ เหมาะกับภาคการผลิตที่กำลังวางแผนที่จะเริ่มต้นธุรกิจการผลิตและการแปรรูปสินค้าเพื่อเจาะตลาดภายในประเทศจีน หรือแปรรูปเพื่อการส่งออกไปยังประเทศที่สามผ่านเครือข่ายการขนส่งของระเบียงการค้า ILSTC ในทุกมิติ…
ตู้ผลไม้ที่นำเข้าผ่าน “ท่าเรือชินโจว” พุ่งกระฉูด
สถิติเดือน ม.ค. - ส.ค. 2565 การค้ากับประเทศไทยผ่านท่าเรือชินโจวมีมูลค่ารวม 5,610 ล้านหยวน เพิ่มขึ้น 68.8%…
ฉุดไม่อยู่ ขนส่ง “เรือ+ราง” ที่กว่างซี โต 56.5% ในไตรมาสแรก ปี 2565
ระบบงานขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ “เรือ+ราง” ที่ท่าเรือรอบอ่าวเป่ยปู้กว่างซี (คนไทยรู้จักชื่อ อ่าวตังเกี๋ย) เป็นทางเลือกที่ผู้ค้าให้ความสนใจ และมีแนวโน้มเติบโตขึ้นอย่างก้าวกระโดด เนื่องจากมีข้อได้เปรียบ ทั้งในด้านประสิทธิภาพงานขนส่ง ความสะดวกรวดเร็วที่ได้รับจากการใช้บริการ…
3 สายเรือยักษ์ใหญ่ผนึกกำลัง เปิดขนส่งผลไม้กัมพูชา-ท่าเรือชินโจว ประเทศไทยมีเอี่ยว
ท่าเรือชินโจว เป็น “ทางเลือก” ที่น่าสนใจอย่างมากสำหรับผู้ส่งออกไทยที่ต้องการขนส่งสินค้าไทยไปเจาะตลาดจีน(ตะวันตก) โดยเฉพาะสินค้าผลไม้ ยิ่งช่วงฤดูกาลผลไม้ เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการจราจรแออัดและตู้สินค้าตกค้างบริเวณด่านทางบกโหย่วอี้กวาน และสามารถใช้ประโยชน์จากโมเดล “เรือ+ราง” ที่สามารถขนถ่ายตู้สินค้าได้แบบไร้รอยต่อ…
ท่าเรือชินโจวใช้เรือขุดสุดล้ำ ขยายร่องน้ำ หนุนการค้าต่างประเทศ
ท่าเรือชินโจวนำเรือขุด “เทียนคุนฮ่าว” (Tian Kun Hao) ซึ่งเป็นเรือขุดลอกพื้นใต้ทะเลที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเอเชีย มาใช้ในโครงการขยายร่องน้ำเดินเรือฝั่งตะวันออกให้เป็นร่องน้ำทางคู่เฟสแรกสำหรับเรือบรรทุกสินค้าขนาด 1 แสนตัน โดยโครงการดังกล่าวจะช่วยเพิ่มศักยภาพของท่าเรือชินโจวในการรองรับเรือบรรทุกสินค้าขนาดใหญ่เข้าเทียบท่าได้เพิ่มมากขึ้น…
แรงไม่หยุด ฉุดไม่อยู่… ขนส่ง “เรือ+รถไฟ” ทางเลือกใหม่ของผู้ส่งออกไทยไปตลาดจีน
โมเดล “เรือ+ราง” ที่ท่าเรือชินโจว เป็นทางเลือกใหม่สำหรับผู้ประกอบการไทยในการขนส่งสินค้าไทยไปเจาะตลาดจีน หรือใช้ช่องทางดังกล่าวเพื่อขนส่งสินค้าไปยังเอเชียกลางและยุโรป ซึ่งปัจจุบันมีเที่ยวเรือวิ่งให้บริการระหว่างท่าเรือชินโจวกับท่าเรือแหลมฉบังและท่าเรือกรุงเทพ โดยระบบงานขนส่งดังกล่าวสามารถรองรับตู้คอนเทนเนอร์ได้อีกหลายประเภท ทั้งตู้ธรรมดา ตู้ทำความเย็น และตู้เปิดฝาบน
เริ่มแล้ว โปรเจกต์ท่าเรืออัจฉริยะของเมืองชินโจว รองรับ “เรือ+รถไฟ” ที่แรกในประเทศจีน
ท่าเรือชินโจว (Qinzhou Port) ได้เริ่มงานก่อสร้างท่าเรืออัจฉริยะ เพื่อรองรับเรือบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์ขนาดแสนตันที่ท่าเทียบเรือหมายเลข 9 และ 10 แล้ว ซึ่งนับเป็นท่าเทียบเรืออัจฉริยะแห่งที่…
กว่างซีดันยุทธศาตร์ระเบียงขนส่งทางบกกับทางทะเล เชื่อมไทยใกล้จีน
เขตฯ กว่างซีจ้วง เป็นช่องทางใหม่สำหรับผู้ประกอบการไทยที่ต้องการขนส่งสินค้าไทยไปเจาะตลาดจีน หรือใช้ช่องทางดังกล่าวเพื่อขนส่งสินค้าไปยังเอเชียกลางและยุโรป ซึ่งปัจจุบันมีบริการเที่ยวเรือขนส่งสินค้าระหว่างท่าเรือชินโจวกับ ท่าเรือแหลมฉบังและท่าเรือกรุงเทพของไทย และการขนส่งทางบกจากภาคอีสานไทย ผ่าน สปป.ลาว เวียดนาม…
ท่าเรือชินโจวพลิกโฉมพิธีการศุลกากรขาออก ชิมลางส่งออกเครื่องสีข้าวล็อตแรกไปไทย
สินค้าส่งออกมาไทยประเดิมใช้โมเดล “ขนตู้สินค้าขึ้นเรือที่ข้างเรือ” ทันทีที่มาถึงท่าเทียบเรือเป็นครั้งแรกที่ท่าเรือชินโจวของเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง โมเดลดังกล่าวช่วยให้ผู้ส่งออกประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ช่วยลดกระบวนการที่สินค้าส่งออกต้องไปขนถ่าย พักตู้สินค้าและลากตู้สินค้าในท่าเรือ โดยรถบรรทุกสามารถลากตู้สินค้าจากโรงงานเข้าไปถึงท่าเทียบเรือโดยตรง ระยะเวลาที่ใช้ตั้งแต่สั่งปล่อยจนถึงยกตู้สินค้าขึ้นเรือใช้เวลาเพียง 90 นาที…