การขนส่งทางรถไฟ
เบิกทางขยายการค้าข้ามทวีด้วยการขนส่งทางรถไฟ “ไทย-รัสเซีย” ด้วยโมเดล “ราง+เรือ” ผ่านอ่าวเป่ยปู้กว่างซี
ประเทศในยุโรปตะวันออก (รัสเซีย โปแลนด์) และเอเชียกลาง (คาซัคสถาน) เป็นตลาดที่มีศักยภาพและยังมีการแข่งขันไม่สูงมากนัก จึงเป็นทางเลือกที่น่าสนใจไม่น้อยสำหรับผู้ประกอบการหรือนักลงทุนไทยที่สนใจจะขยายโอกาสในบุกเบิกตลาดใหม่ได้อย่างสะดวกมากยิ่งขึ้น โดยสามารถพิจารณาใช้ประโยชน์จาก “การขนส่งทางราง” ในเขตฯ…
รถไฟขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ Qilu นครจี่หนาน ทะลุ 600 ขบวน ภายในปี 2564
รถไฟขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ Qilu นครจี่หนาน ทะลุ 600 ขบวน ภายในปี 2564 โดยปัจจุบัน ขบวนรถไฟบรรทุกสินค้า…
มณฑลซานตงเปิดตัวรถไฟ Cross-border E-commerce ขบวนแรก
เมื่อวันที่ 25 มิ.ย. 2564 ได้ปล่อยตัวขบวนรถไฟบรรทุกสินค้า Cross-border E-commerce เส้นทางจีน - ยุโรป…
ผลไม้ไทยดันให้การขนส่งสินค้าทางรถไฟจีน (กว่างซี) – เวียดนามโต 422%
การขนส่งทางรถไฟจึงเป็นอีกทางเลือกสำหรับผู้ส่งออกผลไม้ไทย โดยเฉพาะในช่วงที่มีผลไม้ออกสู่ตลาดจำนวนมาก เพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายที่อาจเกิดจากการที่รถบรรทุกต้องรอคิวที่ด่านทางบกโหย่วอี้กวาน และสามารถกระจายไปยังหัวเมืองอื่นทั่วจีนโดยอาศัยโครงข่ายทางรถไฟของจีน อาทิ นครเซี่ยงไฮ้ (ใช้เวลา 45 ชั่วโมง) กรุงปักกิ่ง…