Facebook Youtube Envelope
  • Home
    หน้าแรก
  • News
    ข่าว
    • BELT & ROAD
    • เศรษฐกิจ
    • ธุรกิจ | การค้า | การลงทุน
    • ตลาดเงิน | ตลาดทุน
    • การบริการ | การท่องเที่ยว
    • คมนาคม | ขนส่ง | โลจิสติกส์
    • พลังงาน | เทคโนโลยี | สิ่งแวดล้อม
    • สังคม | พฤติกรรมผู้บริโภค
    • กฎ | ระเบียบ | นโยบาย
    • อีคอมเมิร์ซ
    • อื่น ๆ
  • Article
    บทความ
    • ศึกษาโอกาส
    • เรียนจากผู้รู้
    • เพ่งดูการเปลี่ยนแปลง
    • เตือนภัยธุรกิจ
  • Trade & Investment China
    การค้าการลงทุนในจีน
    • การค้า
    • การจัดตั้งธุรกิจ
    • กฎระเบียบจีนที่ควรรู้
    • วัฒนธรรมทางธุรกิจ
  • Figure & Publication
    ข้อมูลและสื่อ
    • ภาพรวมจีน
    • ข้อมูลรายมณฑล
    • ไทยกับจีน
    • เขตเศรษฐกิจ
    • เขตการค้าเสรี
    • Belt & Road
    • BIC Publication
  • Q&A
    คำถาม
  • PR
    ประชาสัมพันธ์
    • จัดซื้อจัดจ้าง / ประกาศ
  • Video & Infographic
    วิดีโอและอินโฟกราฟิก
  • About Us
    เกี่ยวกับเรา
    • ติดต่อเรา
    • รับข่าวสาร
    • สัมมนา BIC
    • ร่วมงานกับเรา
Menu
  • Home
    หน้าแรก
  • News
    ข่าว
    • BELT & ROAD
    • เศรษฐกิจ
    • ธุรกิจ | การค้า | การลงทุน
    • ตลาดเงิน | ตลาดทุน
    • การบริการ | การท่องเที่ยว
    • คมนาคม | ขนส่ง | โลจิสติกส์
    • พลังงาน | เทคโนโลยี | สิ่งแวดล้อม
    • สังคม | พฤติกรรมผู้บริโภค
    • กฎ | ระเบียบ | นโยบาย
    • อีคอมเมิร์ซ
    • อื่น ๆ
  • Article
    บทความ
    • ศึกษาโอกาส
    • เรียนจากผู้รู้
    • เพ่งดูการเปลี่ยนแปลง
    • เตือนภัยธุรกิจ
  • Trade & Investment China
    การค้าการลงทุนในจีน
    • การค้า
    • การจัดตั้งธุรกิจ
    • กฎระเบียบจีนที่ควรรู้
    • วัฒนธรรมทางธุรกิจ
  • Figure & Publication
    ข้อมูลและสื่อ
    • ภาพรวมจีน
    • ข้อมูลรายมณฑล
    • ไทยกับจีน
    • เขตเศรษฐกิจ
    • เขตการค้าเสรี
    • Belt & Road
    • BIC Publication
  • Q&A
    คำถาม
  • PR
    ประชาสัมพันธ์
    • จัดซื้อจัดจ้าง / ประกาศ
  • Video & Infographic
    วิดีโอและอินโฟกราฟิก
  • About Us
    เกี่ยวกับเรา
    • ติดต่อเรา
    • รับข่าวสาร
    • สัมมนา BIC
    • ร่วมงานกับเรา
  • Home
    หน้าแรก
  • News
    ข่าว
    • BELT & ROAD
    • เศรษฐกิจ
    • ธุรกิจ | การค้า | การลงทุน
    • ตลาดเงิน | ตลาดทุน
    • การบริการ | การท่องเที่ยว
    • คมนาคม | ขนส่ง | โลจิสติกส์
    • พลังงาน | เทคโนโลยี | สิ่งแวดล้อม
    • สังคม | พฤติกรรมผู้บริโภค
    • กฎ | ระเบียบ | นโยบาย
    • อีคอมเมิร์ซ
    • อื่น ๆ
  • Article
    บทความ
    • ศึกษาโอกาส
    • เรียนจากผู้รู้
    • เพ่งดูการเปลี่ยนแปลง
    • เตือนภัยธุรกิจ
  • Trade & Investment China
    การค้าการลงทุนในจีน
    • การค้า
    • การจัดตั้งธุรกิจ
    • กฎระเบียบจีนที่ควรรู้
    • วัฒนธรรมทางธุรกิจ
  • Figure & Publication
    ข้อมูลและสื่อ
    • ภาพรวมจีน
    • ข้อมูลรายมณฑล
    • ไทยกับจีน
    • เขตเศรษฐกิจ
    • เขตการค้าเสรี
    • Belt & Road
    • BIC Publication
  • Q&A
    คำถาม
  • PR
    ประชาสัมพันธ์
    • จัดซื้อจัดจ้าง / ประกาศ
  • Video & Infographic
    วิดีโอและอินโฟกราฟิก
  • About Us
    เกี่ยวกับเรา
    • ติดต่อเรา
    • รับข่าวสาร
    • สัมมนา BIC
    • ร่วมงานกับเรา
Menu
  • Home
    หน้าแรก
  • News
    ข่าว
    • BELT & ROAD
    • เศรษฐกิจ
    • ธุรกิจ | การค้า | การลงทุน
    • ตลาดเงิน | ตลาดทุน
    • การบริการ | การท่องเที่ยว
    • คมนาคม | ขนส่ง | โลจิสติกส์
    • พลังงาน | เทคโนโลยี | สิ่งแวดล้อม
    • สังคม | พฤติกรรมผู้บริโภค
    • กฎ | ระเบียบ | นโยบาย
    • อีคอมเมิร์ซ
    • อื่น ๆ
  • Article
    บทความ
    • ศึกษาโอกาส
    • เรียนจากผู้รู้
    • เพ่งดูการเปลี่ยนแปลง
    • เตือนภัยธุรกิจ
  • Trade & Investment China
    การค้าการลงทุนในจีน
    • การค้า
    • การจัดตั้งธุรกิจ
    • กฎระเบียบจีนที่ควรรู้
    • วัฒนธรรมทางธุรกิจ
  • Figure & Publication
    ข้อมูลและสื่อ
    • ภาพรวมจีน
    • ข้อมูลรายมณฑล
    • ไทยกับจีน
    • เขตเศรษฐกิจ
    • เขตการค้าเสรี
    • Belt & Road
    • BIC Publication
  • Q&A
    คำถาม
  • PR
    ประชาสัมพันธ์
    • จัดซื้อจัดจ้าง / ประกาศ
  • Video & Infographic
    วิดีโอและอินโฟกราฟิก
  • About Us
    เกี่ยวกับเรา
    • ติดต่อเรา
    • รับข่าวสาร
    • สัมมนา BIC
    • ร่วมงานกับเรา
Search
Close

2 Mar 21

เปิดฐานค่าตอบแทน “มนุษย์เงินเดือนกว่างซี” ปี 64

กลไกเงินเดือนสะท้อนให้เห็นว่า ประเทศจีนในวันนี้กำลังจะสิ้นสุดยุคสินค้าและค่าแรงถูก อุตสาหกรรมการผลิตในจีนแผ่นดินใหญ่กำลังเข้าสู่ยุคดิจิทัล ยุคสมัยที่การผลิตมุ่งเน้นเทคโนโลยีและนวัตกรรม ยุคสมัยที่ธุรกิจ(ต่างชาติ)ต้องหันมามองจีนในฐานะ “ตลาดผู้บริโภค” ขนาดใหญ่ที่มีความหลากหลายและศักยภาพในการจับจ่ายใช้สอยมหาศาล มากกว่าการมองว่าจีนเป็น “โรงงานโลก” อย่างเช่นในอดีต

กว่างซีเต็ง 1 ใช้เงินหยวนค้าขายกับอาเซียน

ความสำคัญของเศรษฐกิจจีนที่มีต่ออาเซียนและประเทศไทย และความผันผวนทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากวิกฤติการเงินโลก การใช้เงินหยวนจึงเป็นทางเลือกสำหรับผู้ประกอบการไทยที่ทำการค้าและการลงทุนกับจีน เนื่องจากช่วยลดความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนและไม่มีต้นทุน (กำไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน) เพิ่มอำนาจการต่อรองกับคู่ค้าจีน และเป็นการกระจายความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนจากสกุลเงินเดียว ซึ่งปัจจุบัน ธนาคารไทยหลายแห่งมีให้บริการแล้ว

2 Feb 21

กว่างซีเป็นฐานต่อเรือบรรทุกก๊าซ LPG มาตรฐานใหม่ที่แรกในจีน

ความสำเร็จครั้งสำคัญในอุตสาหกรรมการต่อเรือเชิงพาณิชย์ของกว่างซีและจีน เมื่ออู่ต่อเรือในฐานต่อเรือเมืองชินโจวประสบความสำเร็จในการต่อเรือ “จาวหยวน” เรือบรรทุกก๊าซธรรมชาติลำแรกของจีนที่ผลิตขึ้นได้ตามมาตรฐานข้อบังคับระหว่างประเทศว่าด้วยการบรรทุกก๊าซ (International Gas Carrier Code, IGC Code) ตามอนุสัญญาระหว่างประเทศว่าด้วยความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล โดยฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะมีการขยายขอบเขตการดำเนินธุรกิจไปยังรัสเซียและประเทศสมาชิกอาเซียนด้วย

1 Feb 21

“ประเทศไทย” นั่งเก้าอี้คู่ค้าอันดับ 3 ของกว่างซี

ปี 2563 การค้าต่างประเทศของเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงยังเติบโตได้ดี แม้จะได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 โดย “ประเทศไทย” เป็นคู่ค้ารายใหญ่อันดับ 3 ของกว่างซี รองจากประเทศเวียดนาม และเขตบริหารพิเศษฮ่องกง โดยสัดส่วนการค้าของไทยต่อมูลค่ารวมมีแนวโน้มขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และประเทศไทยนั่งเก้าอี้คู่ค้ารายใหญ่อันดับ 3 ของกว่างซีได้ 2 ปีติดต่อกัน

26 Jan 21

กว่างซีเพิ่มธุรกิจที่ให้การส่งเสริมสำหรับนักลงทุนต่างชาติ

รัฐบาลกว่างซีได้ประกาศเพิ่ม 6 สาขาธุรกิจที่ให้การส่งเสริมสำหรับนักลงทุนต่างชาติ ได้แก่ เครื่องมือ/อุปกรณ์ทางการแพทย์ ของใช้สำหรับการป้องกันโรคระบาด การผลิตวัตถุดิบยา การผลิตเยื่อไม้และเยื่อกระดาษเคมี และอุปกรณ์ปลายทางอัจฉริยะ (smart terminal devices) โดยจะผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 27 มกราคม 2564 ทำให้ธุรกิจที่ส่งเสริมให้นักลงทุนต่างชาติเข้ามาดำเนินการในเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงมีจำนวนทั้งหมด 38 สาขา

25 Jan 21

เศรษฐกิจดิจิทัล : เสาเศรษฐกิจใหม่ของกว่างซี

ในช่วง 5 ปีนี้ (2564-2568) กว่างซีมีทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลของมณฑลที่เน้นการพัฒนาดิจิทัลให้เป็นอุตสาหกรรมและการพัฒนาอุตสาหกรรมสู่ดิจิทัล รวมทั้งส่งเสริมเทคโนโลยี Big Data อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เทคโนโลยีสารสนเทศ นวัตกรรมแอปพลิเคชัน อุตสาหกรรม 5G บล็อกเชน ภูมิสารสนเทศ เทคโนโลยีสำรวจระยะไกล และดาวเทียมเป่ยโต้ว รวมถึงการพัฒนาโครงข่ายเมืองอัจฉริยะในอาเซียนด้วย

22 Jan 21

ปี 63 กว่างซีโชว์ผลงาน เศรษฐกิจโต 3.7% สวนวิกฤตโควิด-19

ปี 2563 ภาพรวมด้านเศรษฐกิจของเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วงกลับมาเติบโตในแดนบวก จากการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่มีประสิทธิภาพ ภาคการบริโภค ภาคการผลิต และภาคการส่งออกขยายตัวได้ดีอย่างต่อเนื่อง

19 Jan 21

พลิกโฉมงานขนส่งกับจีน : “เรือ+รถไฟ” ที่กว่างซี คำตอบใหม่ของผู้ค้าไทยกับจีน

โมเดล “เรือ+ราง” ที่ท่าเรือชินโจว เป็นทางเลือกใหม่สำหรับผู้ประกอบการไทยที่ต้องการขนส่งสินค้าไทยไปเจาะตลาดจีน หรือใช้ช่องทางดังกล่าวขนส่งสินค้าไปยังเอเชียกลางและยุโรป ในทางกลับกัน สินค้าจีนก็สามารถใช้รถไฟขนส่งตู้สินค้ามาที่ท่าเรือชินโจวเพื่อขึ้นเรือไปต่างประเทศได้แบบไร้รอยต่อ ปัจจุบัน มีบริการเที่ยวเรือขนส่งสินค้าระหว่างท่าเรือชินโจวกับท่าเรือแหลมฉบังและท่าเรือกรุงเทพของไทยด้วยแล้ว

15 Jan 21

อีคอมเมิร์ซข้ามแดนของนครหนานหนิง โอกาสที่ผู้ประกอบการไทยไม่ควรพลาด

เขตทดลอง CBEC นครหนานหนิงเป็นอีกช่องทางที่ผู้ประกอบการไทยสามารถใช้เจาะตลาดภาคตะวันตกและภาคกลางตอนล่างของจีน โดยอาศัยความใกล้ชิดด้านทำเลที่ตั้ง ความสะดวกในการขนส่ง ความคุ้นเคยและการยอมรับสินค้าไทยของผู้บริโภคชาวจีน อีกทั้งยังมีคู่แข่งจำนวนไม่มาก

ท่าเรือกุ้ยก่าง ยืนหนึ่งในระบบขนส่งทางแม่น้ำของพื้นที่จีนตอนใต้

“ท่าเรือกุ้ยก่าง” เป็นท่าเรือแม่น้ำแห่งแรกในลุ่มแม่น้ำเพิร์ลที่มีปริมาณขนส่งทะลุ 100 ล้านตัน ในฐานะท่าเรือแม่น้ำที่มีขนาดใหญ่ในเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง เมื่อปี 2563 มีปริมาณการขนถ่ายสินค้าผ่านท่าเรือกุ้ยก่าง 105.5 ล้านตัน ขยายตัว 30.9% (YoY) สะท้อนให้เห็นว่า การขนส่งทางแม่น้ำเป็นตัวเลือกของภาคธุรกิจและกำลังทวีบทบาทสำคัญในระบบการค้าในพื้นที่จีนตอนใน เนื่องจากต้นทุนต่ำ สามารถขนส่งได้ในปริมาณมาก และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

Posts navigation

Older Posts
Newer Posts
ข่าวล่าสุด
  • ซีอานไฮเทคโซน เร่งยกระดับนวัตกรรมเทคโนโลยีสู่ยุคการพัฒนาอย่างมีคุณภาพสูง

    20 Apr 2021
  • ซีอานลุยต่อ! เร่งดึงดูดการลงทุน 215 โครงการ กว่า 300,000 ล้านหยวน

    20 Apr 2021
  • อีคอมเมิร์ซ นครเฉิงตู เติบโตกว่าร้อยละ 15.46 ในไตรมาสแรกของปี 2564

    20 Apr 2021
  • “ชาผูเอ่อร์” ครองอันดับสองชาจีนที่มีมูลค่าแบรนด์สูงสุดในปี 2564

    18 Apr 2021
  • กุ้ยหยางได้รับรางวัล “เมืองที่มีค่าสำหรับการลงทุน 10 อันดับของจีน”

    18 Apr 2021
บทความล่าสุด
  • เทรนด์สุขภาพมาแรง! มณฑลกวางตุ้งจัดตั้งห้องปฏิบัติการศึกษาความชื้น

    19 Apr 2021
  • เจาะลึกหนทางโดรนในจีนสู่เกษตรอัจฉริยะ กับ XAG บริษัทโดรนเกษตรที่ใหญ่ที่สุดในจีน ตอนที่ 1

    19 Apr 2021
  • รัฐบาลไห่หนานเร่งพัฒนาอุตสาหกรรมเมล็ดพันธุ์พืช ตั้งเป้าเพิ่มมูลค่า 50,000 ล้านหยวน

    7 Apr 2021
  • แนวโน้มอุตสาหกรรมความงามในมณฑลกวางตุ้ง

    2 Apr 2021
  • สินค้าเกษตรไทยสู้วิกฤต COVID-19 เดินหน้าบุกตลาดจีน

    30 Mar 2021
Logo_thaibiz.png

Home หน้าแรก

News ข่าว

Article บทความ

Trade & Investment China การค้าการลงทุนในจีน

Figure & Publication ข้อมูลและสื่อ

Q&A คำถาม

PR ประชาสัมพันธ์

Links ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง

Video & Infographic วิดีโอและอินโฟกราฟิก

About Us เกี่ยวกับเรา

Sitemap แผนผังเว็บไซต์

Facebook Youtube Envelope

LASTEST UPDATE อัปเดทล่าสุด

ซีอานไฮเทคโซน เร่งยกระดับนวัตกรรมเทคโนโลยีสู่ยุคการพัฒนาอย่างมีคุณภาพสูง

ซีอานลุยต่อ! เร่งดึงดูดการลงทุน 215 โครงการ กว่า 300,000 ล้านหยวน

อีคอมเมิร์ซ นครเฉิงตู เติบโตกว่าร้อยละ 15.46 ในไตรมาสแรกของปี 2564

THAI BIZ IN CHINA THAILAND BUSINESS INFORMATION CENTER IN CHINA

** ข้อมูลที่จัดทำขึ้นมาจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และถือเป็นลิขสิทธิ์การจัดทำ ของศูนย์ข้อมูล เพื่อธุรกิจไทยในจีน ซึ่งท่านสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ต่อได้ ในลักษณะที่ไม่ใช่เชิงพาณิชย์โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ทั้งนี้โปรดอ้างอิง “ศูนย์ข้อมูลเพื่อ ธุรกิจไทยในจีน www.thaibizchina.com” ทุกครั้ง เมื่อมีการนำข้อมูลไปใช้ต่อ

** อนึ่ง โปรดใช้วิจารณญาณในการนำข้อมูลไปใช้ ซึ่งเนื้อหาทั้งหมดมาจาก การวิเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่เท่านั้น ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีนซึ่งเป็นผู้จัดทำ ไม่ขอรับผิดชอบต่อความเสียหายใดๆ ที่เกิดขึ้นจากการนำข้อมูลไปใช้ต่อ และ ข้อมูลดังกล่าวไม่ถือเป็นการให้ความเห็นหรือคำแนะนำในการตัดสินใจทางธุรกิจ แต่อย่างใด

ยอดผู้เข้าชม

  • 0
  • 41,783
  • 2,190,713

ลิขสิทธิ์ © พ.ศ. 2556 ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปักกิ่ง