Facebook Youtube Envelope
  • Home
    หน้าแรก
  • News
    ข่าว
    • BELT & ROAD
    • เศรษฐกิจ
    • ธุรกิจ | การค้า | การลงทุน
    • ตลาดเงิน | ตลาดทุน
    • การบริการ | การท่องเที่ยว
    • คมนาคม | ขนส่ง | โลจิสติกส์
    • พลังงาน | เทคโนโลยี | สิ่งแวดล้อม
    • สังคม | พฤติกรรมผู้บริโภค
    • กฎ | ระเบียบ | นโยบาย
    • อีคอมเมิร์ซ
    • อื่น ๆ
  • Article
    บทความ
    • ศึกษาโอกาส
    • เรียนจากผู้รู้
    • เพ่งดูการเปลี่ยนแปลง
    • เตือนภัยธุรกิจ
  • Trade & Investment China
    การค้าการลงทุนในจีน
    • การค้า
    • การจัดตั้งธุรกิจ
    • กฎระเบียบจีนที่ควรรู้
    • วัฒนธรรมทางธุรกิจ
  • Figure & Publication
    ข้อมูลและสื่อ
    • ภาพรวมจีน
    • ข้อมูลรายมณฑล
    • ไทยกับจีน
    • เขตเศรษฐกิจ
    • เขตการค้าเสรี
    • Belt & Road
    • BIC Publication
  • Q&A
    คำถาม
  • PR
    ประชาสัมพันธ์
    • จัดซื้อจัดจ้าง / ประกาศ
  • Video & Infographic
    วิดีโอและอินโฟกราฟิก
  • About Us
    เกี่ยวกับเรา
    • ติดต่อเรา
    • รับข่าวสาร
    • สัมมนา BIC
    • ร่วมงานกับเรา
Menu
  • Home
    หน้าแรก
  • News
    ข่าว
    • BELT & ROAD
    • เศรษฐกิจ
    • ธุรกิจ | การค้า | การลงทุน
    • ตลาดเงิน | ตลาดทุน
    • การบริการ | การท่องเที่ยว
    • คมนาคม | ขนส่ง | โลจิสติกส์
    • พลังงาน | เทคโนโลยี | สิ่งแวดล้อม
    • สังคม | พฤติกรรมผู้บริโภค
    • กฎ | ระเบียบ | นโยบาย
    • อีคอมเมิร์ซ
    • อื่น ๆ
  • Article
    บทความ
    • ศึกษาโอกาส
    • เรียนจากผู้รู้
    • เพ่งดูการเปลี่ยนแปลง
    • เตือนภัยธุรกิจ
  • Trade & Investment China
    การค้าการลงทุนในจีน
    • การค้า
    • การจัดตั้งธุรกิจ
    • กฎระเบียบจีนที่ควรรู้
    • วัฒนธรรมทางธุรกิจ
  • Figure & Publication
    ข้อมูลและสื่อ
    • ภาพรวมจีน
    • ข้อมูลรายมณฑล
    • ไทยกับจีน
    • เขตเศรษฐกิจ
    • เขตการค้าเสรี
    • Belt & Road
    • BIC Publication
  • Q&A
    คำถาม
  • PR
    ประชาสัมพันธ์
    • จัดซื้อจัดจ้าง / ประกาศ
  • Video & Infographic
    วิดีโอและอินโฟกราฟิก
  • About Us
    เกี่ยวกับเรา
    • ติดต่อเรา
    • รับข่าวสาร
    • สัมมนา BIC
    • ร่วมงานกับเรา
  • Home
    หน้าแรก
  • News
    ข่าว
    • BELT & ROAD
    • เศรษฐกิจ
    • ธุรกิจ | การค้า | การลงทุน
    • ตลาดเงิน | ตลาดทุน
    • การบริการ | การท่องเที่ยว
    • คมนาคม | ขนส่ง | โลจิสติกส์
    • พลังงาน | เทคโนโลยี | สิ่งแวดล้อม
    • สังคม | พฤติกรรมผู้บริโภค
    • กฎ | ระเบียบ | นโยบาย
    • อีคอมเมิร์ซ
    • อื่น ๆ
  • Article
    บทความ
    • ศึกษาโอกาส
    • เรียนจากผู้รู้
    • เพ่งดูการเปลี่ยนแปลง
    • เตือนภัยธุรกิจ
  • Trade & Investment China
    การค้าการลงทุนในจีน
    • การค้า
    • การจัดตั้งธุรกิจ
    • กฎระเบียบจีนที่ควรรู้
    • วัฒนธรรมทางธุรกิจ
  • Figure & Publication
    ข้อมูลและสื่อ
    • ภาพรวมจีน
    • ข้อมูลรายมณฑล
    • ไทยกับจีน
    • เขตเศรษฐกิจ
    • เขตการค้าเสรี
    • Belt & Road
    • BIC Publication
  • Q&A
    คำถาม
  • PR
    ประชาสัมพันธ์
    • จัดซื้อจัดจ้าง / ประกาศ
  • Video & Infographic
    วิดีโอและอินโฟกราฟิก
  • About Us
    เกี่ยวกับเรา
    • ติดต่อเรา
    • รับข่าวสาร
    • สัมมนา BIC
    • ร่วมงานกับเรา
Menu
  • Home
    หน้าแรก
  • News
    ข่าว
    • BELT & ROAD
    • เศรษฐกิจ
    • ธุรกิจ | การค้า | การลงทุน
    • ตลาดเงิน | ตลาดทุน
    • การบริการ | การท่องเที่ยว
    • คมนาคม | ขนส่ง | โลจิสติกส์
    • พลังงาน | เทคโนโลยี | สิ่งแวดล้อม
    • สังคม | พฤติกรรมผู้บริโภค
    • กฎ | ระเบียบ | นโยบาย
    • อีคอมเมิร์ซ
    • อื่น ๆ
  • Article
    บทความ
    • ศึกษาโอกาส
    • เรียนจากผู้รู้
    • เพ่งดูการเปลี่ยนแปลง
    • เตือนภัยธุรกิจ
  • Trade & Investment China
    การค้าการลงทุนในจีน
    • การค้า
    • การจัดตั้งธุรกิจ
    • กฎระเบียบจีนที่ควรรู้
    • วัฒนธรรมทางธุรกิจ
  • Figure & Publication
    ข้อมูลและสื่อ
    • ภาพรวมจีน
    • ข้อมูลรายมณฑล
    • ไทยกับจีน
    • เขตเศรษฐกิจ
    • เขตการค้าเสรี
    • Belt & Road
    • BIC Publication
  • Q&A
    คำถาม
  • PR
    ประชาสัมพันธ์
    • จัดซื้อจัดจ้าง / ประกาศ
  • Video & Infographic
    วิดีโอและอินโฟกราฟิก
  • About Us
    เกี่ยวกับเรา
    • ติดต่อเรา
    • รับข่าวสาร
    • สัมมนา BIC
    • ร่วมงานกับเรา
Search
Close

10 Aug 22

Hub โลจิสติกส์ระดับอินเตอร์ — นามบัตรใบใหม่ของ “ท่าเรือชินโจว” ของกว่างซี

30 ปีหลังการสถาปนา “ท่าเรือชินโจว” วันนี้ ท่าเรือชินโจวติดอันดับ Top50 ท่าเรือขนส่งตู้คอนเทนเนอร์ชั้นนำระดับโลกได้เป็นครั้งแรก โดยอยู่ในอันดับที่ 47 ของโลก โดยปัจจัยที่เป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญ คือ โมเดลการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ “เรือ+ราง” และ Smart port ที่ใช้ระบบควบคุมอัจฉริยะในการขนถ่ายตู้สินค้าระหว่าง “เรือ+ราง” เป็นที่แรกในประเทศจีน

5 Aug 22

China-ASEAN Expo ปีนี้ ผู้จัดเปิดให้ขายต่อที่ “ศูนย์รวมสินค้าโดดเด่นจีน-อาเซียน”

ปรากฎการณ์ใหม่ของงาน China-ASEAN Expo ปีนี้ คือ หลังจากสิ้นสุดการจัดงานแล้ว สินค้าต่างชาติที่นำมาเข้าร่วมงานฯ สามารถนำไปจัดแสดงหรือจำหน่ายตามปกติได้ที่ “ศูนย์รวมสินค้าโดดเด่นจีน-อาเซียน” หรือ China-ASEAN Mercantile Exchange ซึ่งจะช่วยสนับสนุนโอกาสทางการค้าสินค้าและบริการระดับคุณภาพและมีศักยภาพของผู้ประกอบการไทยได้ โดยเฉพาะ Creative economy ผลิตภัณฑ์อินทรีย์ แฟชั่นและเครื่องประดับ ศิลปะและงานฝีมือ Health & Wellness สินค้า OTOP พรีเมี่ยม Thai Hospitality ตลอดจนการวิจัยพัฒนาและเทคโนโลยี และการศึกษา เพื่อให้ผู้ที่สนใจในประเทศจีนสามารถเข้าชมและสามารถติดต่อกับผู้ประกอบการไทยได้

1 Aug 22

เพิ่มขึ้นถี่ๆ เที่ยวบินขนสินค้า “นครหนานหนิง – กรุงเทพฯ”

“สนามบินหนานหนิง” เป็นอีกหนึ่ง ‘ทางเลือก’ ที่ช่วยสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจสำหรับผู้ส่งออกไทยไปยังประเทศจีน เนื่องจากสนามบินแห่งนี้มีข้อได้เปรียบด้านทำเลที่ตั้งใกล้ไทย ใช้เวลาทำการบินเพียงประมาณ 2 ชั่วโมง เป็นตลาดใหม่ที่ยังมีคู่แข่งไม่มาก โดยผู้ส่งออกไทยสามารถใช้โครงข่ายคมนาคมขนส่งที่มีความสมบูรณ์ทันสมัยของ “นครหนานหนิง” ในการกระจายสินค้าไปจำหน่ายยังพื้นที่อี่นทั่วประเทศจีนได้

Update สถานการณ์เศรษฐกิจของเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง และการค้ากว่างซี-ไทย ช่วง 6 เดือนแรก ปี 2565

รัฐบาลกว่างซีได้ประกาศตัวเลขเศรษฐกิจในช่วง 6 เดือนแรก ปี 2565 พบว่า สถานการณ์ทางเศรษฐกิจมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น หลังจากที่ต้องชะลอตัวลงจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ในช่วงเดือนมีนาคม – พฤษภาคมที่ผ่านมา โดยผลิตภัณฑ์มวลรวม หรือ GDP ของเขตฯ กว่างซีจ้วง มีมูลค่า 1,229,416 ล้านหยวน เพิ่มขึ้น 2.7%

29 Jul 22

กว่างซีดี๊ด๊า เล็งเพิ่มเที่ยวบินสู่อาเซียน

เขตฯ กว่างซีจ้วงกำลังพัฒนา “วงแหวนโลจิสติกส์ทางอากาศ 4 ชั่วโมง” จากนครหนานหนิงสู่กลุ่มประเทศอาเซียน พัฒนาโครงข่ายเส้นทางการขนส่งสินค้าทางอากาศระหว่างประเทศ และใช้ประโยขน์จากทรัพยากรร่วมกันระหว่างเครื่องบินขนส่งสินค้าและพื้นที่ระวางใต้ท้องเครื่องของเครื่องบินผู้โดยสาร โดยมีสนามบินหนานหนิงเป็นศูนย์กลาง กล่าวได้ว่า สนามบินหนานหนิง เป็นทางเลือกใหม่สำหรับผู้ส่งออกไทยในการขนส่งสินค้า โดยเฉพาะผลไม้สด รวมถึงสินค้าไทยที่มีศักยภาพเข้าสู่ตลาดกว่างซีและพื้นที่อื่นทั่วประเทศจีนได้ผ่านเที่ยวบินขนส่งสินค้า “กรุงเทพฯ – หนานหนิง” โดยใช้เวลาทำการบินเพียง 2 ชั่วโมงเท่านั้น

15 Jul 22

“รถไฟผิงเสียง” ช่องทางบุกตลาดจีนของผลไม้ไทยและเวียดนาม โต 164.95% ในครึ่งปีแรก

ปัจจุบัน การขนส่งสินค้าด้วย “รถไฟ” เป็นทางเลือกที่ไม่เป็นสองรองใคร โดยเฉพาะสำหรับผู้ส่งออกผลไม้(ไทย)ที่ต้องการขนส่งสินค้าไทยไปเจาะตลาดจีน เนื่องจากมีข้อได้เปรียบ ทั้งในด้านประสิทธิภาพงานขนส่ง ความสะดวกรวดเร็วที่ได้รับจากการใช้บริการตลอดจนต้นทุนเวลาและค่าใช้จ่ายที่ลดลง สำหรับสินค้าทั่วไป ผู้ส่งออกไทยสามารถใช้ช่องทางดังกล่าวในการลำเลียงสินค้าไปยังเอเชียกลางและยุโรปได้ด้วย

13 Jul 22

ที่แรกในจีน! ท่าเรืออัจฉริยะ (Smart Port) ขนสินค้าเรือ+รถไฟไร้รอยต่อ เริ่มใช้งานแล้ว

เมื่อไม่นานมานี้ ท่าเทียบเรืออัจฉริยะ (Smart Port) ในท่าเรือชินโจวของเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง (ในอ่าวตังเกี๋ย) ได้ผ่านการตรวจรับจากส่วนกลางและเปิดใช้งานอย่างเป็นทางการแล้ว นับเป็นท่าเทียบเรืออัจฉริยะแห่งที่ 5 ของประเทศจีน และเป็นท่าเทียบเรืออัจฉริยะที่มีฟังก์ชันรองรับการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ “เรือ+รถไฟ” เป็นแห่งแรกของประเทศจีน

21 Jun 22

กว่างซีคลอดแผนคลัสเตอร์อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาคธุรกิจไทยสอดแทรกตรงไหนได้บ้าง

นักลงทุนไทยสามารถแสวงหาความร่วมมือด้านการค้าและการลงทุนกับกว่างซีในกลุ่มอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เศรษฐกิจดิจิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศ และกลุ่มธุรกิจอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ โดยใช้สิทธิประโยชน์จากนโยบายและความพร้อมของระบบโครงสร้างพื้นฐานของกว่างซี รวมถึงสิทธิประโยชน์ด้านการลงทุนในเขตทดลองการค้าเสรีจีน(กว่างซี)

17 Jun 22

กว่างซีปั้นโมเดลขนส่งสินค้าทาง ‘รถไฟ’ ติดลมบน

รัฐบาลกว่างซีมีแผนที่จะผลักดันให้ท่ารถไฟระหว่างประเทศหนานหนิงเป็นจุดนำเข้า-ส่งออกสินค้าเกษตรและผลไม้ในอนาคต ซึ่งจะช่วยสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและเป็นทางเลือกใหม่สำหรับผู้ส่งออกไทยในการส่งออกผลไม้ไทย กระจายไปยังพื้นที่ต่าง ๆ ของจีน โดยเฉพาะในช่วงที่จีนมีการบังคับใช้มาตรการป้องกันและควบคุมโควิด-19 ที่บริเวณด่านทางบกอย่างเข้มงวด ซึ่งบีไอซีจะเกาะติดสถานการณ์ความเคลื่อนไหวอย่างใกล้ชิดเพื่อนำเสนอกับผู้อ่านในโอกาสต่อไป

จับตา สนามบินหนานหนิงกับเป้าหมาย Hub ขนส่งสินค้าทางอากาศ

สนามบินหนานหนิงจะช่วยสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและเป็นทางเลือกใหม่สำหรับผู้ส่งออกไทยในการขนส่งสินค้าไทยที่มีศักยภาพเข้าสู่ตลาดกว่างซีและพื้นที่อื่นทั่วประเทศจีนได้ผ่านเที่ยวบินขนส่งสินค้า “กรุงเทพฯ – หนานหนิง”  ด้วยระยะเวลาการขนส่งสั้นเพียง 2 ชั่วโมง

Posts navigation

Older Posts
ข่าวล่าสุด
  • ภาพรวมเศรษฐกิจของมณฑลเจียงซีเติบโตร้อยละ 4.9 ในครึ่งแรกของปี 2565

    10 Aug 2022
  • Hub โลจิสติกส์ระดับอินเตอร์ — นามบัตรใบใหม่ของ “ท่าเรือชินโจว” ของกว่างซี

    10 Aug 2022
  • BYD ครองแชมป์ยอดจำหน่ายยานยนต์พลังงานใหม่อันดับ 1 ของโลก ครึ่งปีแรกของปี 2565 โต 3 เท่า

    9 Aug 2022
  • เศรษฐกิจของมณฑลฝูเจี้ยนเติบโตได้ดีอย่างต่อเนื่องในช่วงครึ่งปีแรก 2565

    8 Aug 2022
  • China-ASEAN Expo ปีนี้ ผู้จัดเปิดให้ขายต่อที่ “ศูนย์รวมสินค้าโดดเด่นจีน-อาเซียน”

    5 Aug 2022
บทความล่าสุด
  • มาเลย์ขึ้นท้าชิง “ตลาดรังนก” ในตลาดจีน แล้วโอกาสของรังนกไทยแข่งขันได้หรือไม่

    10 Aug 2022
  • เซินเจิ้น เมืองแรกของจีนที่อนุญาตทดสอบ “ยานยนต์ไร้คนขับ” ระดับ L4 ของจีน

    9 Aug 2022
  • เทคโนโลยีพลังงานใหม่ และโอกาสความร่วมมือกับไทย

    8 Aug 2022
  • กว่างซีผ่อนปรนมาตรการป้องกันโควิด-19 ในสินค้านำเข้า รู้ไว้..แต่อย่าชะล่าใจ

    4 Aug 2022
  • “เรือเลี้ยงปลาอัจฉริยะ” โอกาสที่น่าจับตามองของภาคอุตสาหกรรมทางทะเล

    19 Jul 2022
Logo_thaibiz.png

Home หน้าแรก

News ข่าว

Article บทความ

Trade & Investment China การค้าการลงทุนในจีน

Figure & Publication ข้อมูลและสื่อ

Q&A คำถาม

PR ประชาสัมพันธ์

Links ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง

Video & Infographic วิดีโอและอินโฟกราฟิก

About Us เกี่ยวกับเรา

Sitemap แผนผังเว็บไซต์

Facebook Youtube Envelope

LASTEST UPDATE อัปเดทล่าสุด

ภาพรวมเศรษฐกิจของมณฑลเจียงซีเติบโตร้อยละ 4.9 ในครึ่งแรกของปี 2565

Hub โลจิสติกส์ระดับอินเตอร์ — นามบัตรใบใหม่ของ “ท่าเรือชินโจว” ของกว่างซี

BYD ครองแชมป์ยอดจำหน่ายยานยนต์พลังงานใหม่อันดับ 1 ของโลก ครึ่งปีแรกของปี 2565 โต 3 เท่า

THAI BIZ IN CHINA THAILAND BUSINESS INFORMATION CENTER IN CHINA

** ข้อมูลที่จัดทำขึ้นมาจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และถือเป็นลิขสิทธิ์การจัดทำ ของศูนย์ข้อมูล เพื่อธุรกิจไทยในจีน ซึ่งท่านสามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ต่อได้ ในลักษณะที่ไม่ใช่เชิงพาณิชย์โดยไม่มีค่าใช้จ่าย ทั้งนี้โปรดอ้างอิง “ศูนย์ข้อมูลเพื่อ ธุรกิจไทยในจีน www.thaibizchina.com” ทุกครั้ง เมื่อมีการนำข้อมูลไปใช้ต่อ

** อนึ่ง โปรดใช้วิจารณญาณในการนำข้อมูลไปใช้ ซึ่งเนื้อหาทั้งหมดมาจาก การวิเคราะห์ข้อมูลที่มีอยู่เท่านั้น ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีนซึ่งเป็นผู้จัดทำ ไม่ขอรับผิดชอบต่อความเสียหายใดๆ ที่เกิดขึ้นจากการนำข้อมูลไปใช้ต่อ และ ข้อมูลดังกล่าวไม่ถือเป็นการให้ความเห็นหรือคำแนะนำในการตัดสินใจทางธุรกิจ แต่อย่างใด

ยอดผู้เข้าชม

  • 0
  • 28,787
  • 8,991,799

ลิขสิทธิ์ © พ.ศ. 2556 ศูนย์ข้อมูลเพื่อธุรกิจไทยในจีน สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปักกิ่ง